Facts About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Revealed
Facts About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Revealed
Blog Article
นอกจากนี้ ความไม่เท่าเทียมกันทางชนชั้นในสังคมไทยก็ทำให้การเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกันไป เช่น การที่ผู้ปกครองทำอาชีพเกษตรกรรมในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ และได้ผลผลิตไม่ดี ทำให้รายได้ไม่เพียงพอ ส่งผลให้บุตรหลานที่กำลังอยู่ในวัยเรียนต้องรับภาระในการหาค่าใช้จ่าย เพื่อมาช่วยเหลือจุนเจือครอบครัวควบคู่ไปกับการเรียน ซึ่งในบางกรณีทำให้เด็กนักเรียนต้องออกจากระบบการศึกษาไปในที่สุด
ไม่ใช่แค่ฝั่งของเจ้าหน้าที่เท่านั้น แม้กระทั่งผู้ปกครองก็ไม่ได้ตระหนักถึงการศึกษาที่ด้อยคุณภาพเช่นกัน พวกเขาจึงไม่ได้สนใจจะเรียกร้องให้โรงเรียนมีคุณภาพดีกว่าเดิม หรือกว่าที่พวกเขาจะตระหนักได้ ก็เป็นช่วงที่เด็กเรียนจบและเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว จนทำให้หลายๆ คนเจอกับสภาวะที่เรียนจบมาแล้ว แต่กลับไม่มีทักษะเพียงพอในการทำงาน
สืบเนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ และเสรีภาพทางการศึกษาที่เพิ่มขึ้น ทำให้สถาบันทางการศึกษาทั้งภายใน และนอกประเทศมีการแข่งขันกันพัฒนาคุณภาพหลักสูตร เพื่อดึงดูดนักศึกษามากขึ้น อีกทั้งสถาบันทางการศึกษาจากต่างประเทศยังมีการให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียน และนักศึกษาได้เข้าไปเรียนในสถาบันที่ต่างประเทศ เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ ในขณะเดียวกันสถาบันการศึกษาของไทยก็เริ่มมีการตื่นตัวที่จะพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาให้มีความทันสมัย และเทียบเท่ากับสถาบันทางการศึกษาในระดับนานาชาติ
ถอดรหัสดีเบตแฮร์ริส-ทรัมป์ ผลกระทบตลาดหุ้นสหรัฐ
'สุรพงษ์' เล็งหารือ ก.คลัง ปรับโครงสร้างหนี้การรถไฟฯ หวังหลุดขาดทุนสะสม
โครงการทุนพัฒนาเต็มศักยภาพสายอาชีพ ให้ทุนเรียนต่อปริญญาตรีถึงปริญญาเอก สำหรับนักศึกษายากจนที่เรียนดีซึ่งกําลังใกล้จบ ปวส. หรืออนุปริญญาสายอาชีพ
อาจารย์ดนัยวัฒน์ มณี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปางมะหัน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เสนอว่าหากเป็นไปได้ น่าจะมีการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียน เช่น ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โรงเรียนจะต้องมีบุคลากรประเภทใดบ้าง จำนวนกี่คน หรือกระทั่งว่าห้องเรียนที่มีมาตรฐานควรมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งเป็นสิ่งเราสามารถกำหนดได้ตั้งแต่ระดับรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ จนถึง สพฐ.
แม้จะเริ่มเข้าเรียนได้เพียงไม่กี่เดือนการเปลี่ยนแปลงก็เกิดขึ้น การเรียนรู้จากหลักสูตร มรภ.รำไพพรรณี สามารถมานำมาทดลองในห้องเรียนได้ทันทีเห็นรีแอคพฤติกรรมนักเรียนจากสิ่งที่ครูได้เรียนมาว่าได้ผลอย่างไร และต้องพัฒนาตรงไหนที่จะสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ตรงกับเนื้อหา และพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคน เป็นห้องเรียนที่ครูได้ทดลองสิ่งที่เรียนมาและสร้างให้เด็กได้เรียนรู้สนุกไปพร้อมกับครู ครูก็เรียนรู้จากนักเรียน และเป็นพื้นที่ที่ทั้งสองฝ่ายได้เรียนรู้ได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืน
สภาพที่อยู่อาศัยชำรุดทรุดโทรมหรือไม่ บ้านทำจากวัสดุพื้นบ้านอย่างไม้ไผ่ ใบจาก ของเหลือใช้ หรือเป็นบ้านเช่าหรือไม่
แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์
การมอบเงินช่วยเหลือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ตรงไปตรงมาและเป็นรูปธรรม ทว่า ในท้ายที่สุดแล้ว หัวใจสำคัญของการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ ย่อมเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนไทย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างการคมนาคม เครือข่ายการสื่อสาร การเติบโตทางเศรษฐกิจและอื่นๆ จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการมอบโอกาสทางการศึกษาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
เด็ก ๆ ที่โรงเรียน เป็นเด็กที่บริสุทธิ์ ไร้เดียงสา น่ารักเฉพาะตัว ไม่ได้ใช้มากเกินไป มีความน่ารัก ยังไม่ค่อยมีพฤติกรรมเลียนแบบจากโซเชียลมีเดียเท่าไหร่นัก แต่ถ้ามองถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่อินเตอร์เน็ตจะเข้ามาเปลี่ยนแปลงความใสซื่อหรือไม่ ครูอุ้ยก็มีความกังวลเล็กน้อย แต่ก็ไม่สามารถห้ามสิ่งที่จะเกิดในอนาคตได้ ได้เพียงแต่หาทางสร้างความเข้าใจและสร้างภูมิคุ้มกันความรู้เท่าทันโลกอินเตอร์เน็ตและโซเชียลมีเดียน่าจะเป็นวิธีการที่ดีที่สุด เด็ก ๆ มีความฉลาดรู้และเท่าทันสื่อต่าง ๆก็จะเติบโตและแยกแยะสิ่งที่ดีหรือไม่ดีด้วยตนเองได้ ครูอุ้ยเล่าให้เราฟังด้วยน้ำเสียงมั่นใจ
จำนวนเด็กนักเรียนยากจนจำนวนมากทำให้เงินอุดหนุนนักเรียนยากไร้ที่สพฐ.จัดสรรให้แต่ละโรงเรียนเองก็อาจไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนยากจนในโรงเรียนนั้นๆ ทำให้สถานศึกษาต้องเกลี่ยเงินให้ครบทุกคน เดิมที่สพฐ.
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือ การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกัน เนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคมอันส่งผลให้เกิดปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน โดยผู้ได้รับการสนับสนุนให้เข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสในการเลือกระดับคุณภาพของการศึกษาที่มากกว่าผู้ที่มีปัจจัยและทรัพยากรที่น้อย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้